บทความวิชาการเกี่ยวกับอาเซียนจากวารสารเอเชียปริทัศน์ พ.ศ. 2552 – 2557
Volume |
Articles |
Author |
ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 |
ภาคประชาชนกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน: ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การเข้าร่วมประชุมอาเซียนภาคประชาชน ประจำปี 2555 |
มานิตา หนูสวัสดิ์ |
โอกาสและอุปสรรคของสินค้าฮาลาลไทยในตลาดอินโดนีเซีย |
ศราวุฒิ อารีย์ |
|
การค้าชายแดนเวียดนาม-จีนผ่านหลาวก่าย |
ธัญญาทิพย์ ศรีพนา |
|
การพัฒนาด่านช่องสะงำสู่ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา ในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ภควัฒน์ จรรยาสุทธิวงศ์ |
|
ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2557 |
ความหลากหลายและความหลอมรวมทางภาษาในประเทศกลุ่มประชาคมอาเซียน |
ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ |
สัญลักษณ์แห่งราชธานีพนมเปญนัยแห่งมหานครอันเรืองโรจน์ |
ชาญชัย คงเพียรธรรม |
|
เนื้อก็ไม่ใช่ ปลาก็ไม่เชิง : สมจินงิน วรรณกรรมลาวสมัยใหม่กับความทันสมัยที่เป็นปํญหา |
ชัยรัตน์ พลมุข |
|
ตัวตนและโลกแห่งการเรียนรู้ของสตรีมาเลย์ : ภาพสะท้อนจากนวนิยายของคาดียฺะฮ์ ฮาชิม |
นารีมา แสงวิมาน, นูรีดา หะยียะโกะ |
|
ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2556 |
จากอาหรับสปริงถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
สามารถ ทองเฝือ |
ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555 |
ไทยในการรับรู้และความเข้าใจของพม่า |
พรพิมล ตรีโชติ |
สถานภาพและแนวโน้มการนำเสนอประเทศไทยบนพื้นที่สื่อสิ่งพิมพ์พม่า |
วิรัช นิยมธรรม |
|
ภาพ ปรากฏของไทยในสื่อลาว |
อดิศร เสมแย้ม |
|
การรับรู้และความเข้าใจของเวียดนามต่อไทย : การศึกษาจากหนังสือพิมพ์ออนไลน์ของเวียดนาม |
มนธิรา ราโท |
|
เขมรมองไทยผ่านภาคประชาสังคม |
อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์, ไพรินทร์ มากเจริญ |
|
การรับรู้และความเข้าใจของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกัมพูชาที่มีต่อไทย : กรณีศึกษาข่าวเกี่ยวกับไทยในหนังสือพิมพ์กัมพูชา |
ใกล้รุ่ง อามระดิษ |
|
ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนามในกรอบอาเซียน |
ธีระ นุชเปี่ยม |
|
บทวิจารณ์หนังสือเรื่อง Where China meets India : Burma and the new crossroads of Asia เขียนโดย Thant Myint – U |
ขนิษฐา คันธะวิชัย |
|
ปีที่ 32 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554 |
ความสัมพันธ์จีน-พม่า : ใครได้ใครเสีย? |
พรพิมล ตรีโชติ |
อิทธิพลจีนในกัมพูชา |
วัชรินทร์ ยงศิริ |
|
ระบบท่าเรือพาณิชย์ในแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขงระหว่างมณฑลยูนนานกับประเทศไทย |
นรชาติ วัง, สมชาย ธรรมสุทธิวัฒน์ |
|
ถาปัตยกรรมแบบสรรผสานแห่งช่องแคบกับสังคมจีนคาบสมุทรมลายูในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 |
ปัญญา เทพสิงห์ |
|
ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 |
การต่อรองทางสังคมของเด็กเร่ร่อนย้ายถิ่น ณ ชายแดนไทย-พม่า ในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย |
กมลวรรณ เริงสำราญ |
ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 |
อาหารเวียดนามข้ามแดนสู่ไทย |
ธัญญาทิพย์ ศรีพนา |
อิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนในสปป.ลาว |
คมสัน นวคุณสุชาติ |
|
บริบทการปรับตัวเพื่อตั้งถิ่นฐานของแรงงานจากประเทศพม่า : กรณีศึกษาชุมชนในเขตเทศบาล อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก |
ไพรินทร์ มากเจริญ |
|
จากนายพลถึงมาม่าซัง : ความไม่มั่นคงมนุษย์ในอินโดนีเซียและญี่ปุ่น |
อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์ |
|
ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ.2553 |
เส้นทางการท่องเที่ยวทางน้ำบนระเบียงเศรษฐกิจด้านใต้ |
ธัญญาทิพย์ ศรีพนา |
การค้าชายแดนสองฝั่งโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
สุมาลี สุขดานนท์ |
|
การค้าชายแดนสายสัมพันธ์การค้าไทย-กัมพูชา |
สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง |
|
ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 |
นโยบายและแนวทางการปฏิบัติขององค์การการประชุมอิสลาม (OIC) ต่อปัญญาชนกลุ่มน้อยมุสลิม : กรณีปัญหาชนกลุ่มน้อยมุสลิมในฟิลิปปินส์ อินเดียว และบัลแกเรีย |
ศราวุฒิ อารีย์ |
บทบาทของมาเลเซียใน OIC |
สามารถ ทองเฝือ |
|
ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552 |
Politics of Sub-Regional Development Cooperation in Asia : The Case of Greater Mekong Sub-Region |
Nuchpiam, T., Than, M., Trichote, P., Denkesineelam, D., Tantrakoonsab, N. |
The Sociology of southeast Asia : Tranformations in a Developming Region โดย Victor T. King |
ธีระ นุชเปี่ยม |
|
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 |
สิงคโปร์ : มุสลิมกับความมั่นคงและเศรษฐกิจ |
ณัฐพจน์ ยืนยง |
หนังสือบุหงารายา : ประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่าของชาวมลายู |
นูรีดา หะยียะโกะ |
|
ผ่าโลกมุสลิม : รัฐกับการจัดการความขัดแย้งในสังคมซาอุดีอาระเบีย อิหร่านและอินโดนีเซีย |
จรัญมะลูลีม |
(อัพเดทล่าสุดวันที่ 29 ธันวาคม 2558)